-
หนี้เอสเอ็มอีไทยมีเสียว เสี่ยงลามข้ามโซนหนี้เสีย พุ่งกว่า 60,000 ล้าน | คุยกับบัญชา l 22 พ.ย. 66
“คุยกับบัญชา” ไม่จำเป็น! ทีดีอาร์ไอแจงตัวเลขคู่เหตุผลบอกเศรษฐกิจไทยไม่จำเป็นต้องฉีดงบ 5 แสนล้านกระตุ้น แค่ เราเที่ยวด้วยกัน-คนละครึ่งก็พอ ก็เอาอยู่ -
หนี้เอสเอ็มอีไทยมีเสียว เสี่ยงลามข้ามโซนหนี้เสีย พุ่งกว่า 60,000 ล้าน | คุยกับบัญชา EP.1489 l 22 พ.ย. 66
“คุยกับบัญชา” ไม่จำเป็น! ทีดีอาร์ไอแจงตัวเลขคู่เหตุผลบอกเศรษฐกิจไทยไม่จำเป็นต้องฉีดงบ 5 แสนล้านกระตุ้น แค่ เราเที่ยวด้วยกัน-คนละครึ่งก็พอ ก็เอาอยู่ -
เตรียมเบิก! ธ.ก.ส. เตรียมโอนจ่ายไร่ละ 1,000 ให้ชาวนา รวมวงเงิน 5.4 หมื่นล้านบาท เริ่ม 28 พ.ย. นี้
นายฉัตรชัย ศิริไล ผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เปิดเผยว่า ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2566 และคณะกรรมการ ธ.ก.ส โดยนายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในฐานะประธานกรรมการ ธ.ก.ส. เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2566 ... -
ตะลึงไทยปลูกข้าวแพ้ลาว กัมพูชา เวียดนาม แถมรั้งบ้วยผลผลิตในอาเซียนและเอเชีย
นายชัย วัชรงค์ โฆษกประจำสำนักนายก รัฐมนตรี กล่าวว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวานนี้โดยนายกรัฐมนตรีได้มีการสั่งการเรื่องผลผลิตข้าวไทยต่อไร่สูญเสียต่ำลงมากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศคู่แข่งอื่นๆ ในทวีปเอเชีย โดยประเทศไทยมีผลผลิตต่อไร่แทบรั้งท้ายเกือบทุกประเทศ โดยเฉพาะมีผลผลิตข้าวต่อไร่ตกต่ำแพ้แม้แต่ประเทศกัมพูชา สปป.ลาว และเวียดนาม โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวต่อไปว่า ผู้เกี่ยวข้องกับในวงการข้าวไทยเปิดเผยว่ากรมการข้าวซึ่งทำหน้าที่วิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวไทย กลับไม่ค่อยมีพันธุ์ข้าวดีๆออกมาแนะนำให้เกษตรกรชาวนาได้นำไปปลูก นายชัย วัชรงค์ โฆษกประจำสำนักนายก รัฐมนตรี กล่าวว่า ... -
แบงก์ชาติเตือนรัฐบาลแจกเงินชาวนาไร่ละ 1,000 บาทส่อทำชาวนามีมุมมองรอแต่การช่วยเหลือรัฐ
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จัดทำเอกสารหนังสือด่วนที่สุด ที่ ธปท.ฝศม. 806/2566 เรื่องมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าวเปลือกในปีการผลิต 2566/67 (เพิ่มเติม) เกี่ยวกับการดำเนินโครงการจ่ายเงินชาวนาไร่ละ 1,000 บาท ระบุรายละเอียด ดังนี้ ตามที่สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีมีหนังสือด่วนที่สุดที่ นร 0506/ว(ล) 24405 ลงวันที่ 13 ... -
ครม.ไฟเขียว 5.6 หมื่นล้าน จ่ายชาวนาช่วยค่าเก็บเกี่ยวไร่ละ 1,000 บาท ปีการผลิต 2566/67
นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรี และรมว.พาณิชย์ เปิดเผยว่าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบตามข้อเสนอตามที่คณะกรรมการบริหารและจัดการข้าวแห่งชาติ (นบข.) เสนอมาตรการให้เงินช่วยเหลือชาวนา (ค่าเก็บเกี่ยวข้าว) ไร่ละ 1,000 บาท ภายใต้โครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2566/67 วงเงิน 5.6 หมื่นล้านบาท ทั้งนี้ ... -
“ธรรมนัส” เดินหน้าชง นบข.เคาะช่วยชาวนา เยียวยาไร่ละ 1,000 บาท เสนอครม.เคาะ 14 พ.ย.นี้
ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า รมว.เกษตรและสหกรณ์ ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการนโยบายและบริหารข้าวแห่งชาติ (นบข.) กล่าวว่า การประชุมของคณะอนุกรรมการฯ จะเป็นการขออนุมัติเงินชดเชยในการพัฒนาและบริหารคุณภาพข้าวให้กับชาวนาจำนวน 1,000 บาทต่อไร่ ซึ่งไม่เกิน 20 ไร่จำนวน 20,000 บาท โดยแนวทางดังกล่าวจะต้องเร่งดำเนินการ เพราะจะเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) ในสัปดาห์หน้า ซึ่งกระทรวงการคลัง ... -
ครม.ไฟเขียวใช้สินเชื่อ 1.06 หมื่นล้านชะลอขาย-แทรกแซงราคาข้าว ดูดซับผลผลิต 4 ล้านตัน
คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าวด้วยการให้สินเชื่อเพื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ความชื้น 25% รัฐบาลให้สินเชื่อตันละ 12,000 บาท ค่าเก็บรักษาคุณภาพตันละ 1,500 บาท ให้เก็บเป็นเวลา 5 เดือน เป้าหมาย 3 ล้านตัน รวมทั้งให้สินเชื่อเพื่อให้สถาบันเกษตรเข้ารับซื้อแทรกแซงตลาด ราคาตันละ 12,200 ... -
ชาวนาลุ้น! ครม.เล็งเคาะ พยุงราคาข้าวลดดอกเบี้ยเงินกู้ชาวนาพรุ่งนี้
นายสมคิด เชื้อคง รองเลขาฯ นายกฯ ฝ่ายการเมือง กล่าวถึงการประชุมหารือร่วมกับ นายเศรษฐา ทวีสิน นายกฯ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ว่าวันนี้นายกรัฐมนตรีเรียกไปประชุมเรื่องข้าวฤดูใหม่ ที่จะออก เนื่องจากรัฐบาลเตรียมนำเรื่องการช่วยเหลือเกษตรกร เรื่องอัตราดอกเบี้ย และการจัดซื้อ รวมถึงเรื่องต่าง ๆ เข้าสู่ที่ประชุม คณะรัฐมนตรี ในวันพรุ่งนี้ ... -
ไม่มีจำนำข้าว! พาณิชย์อัดวงเงิน 6.9 หมื่นล้านบาท อุ้มสภาพคล่อง ดูแลราคาข้าว
นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยภายหลังเป็นประธานการประชุมหารือร่วมกับสมาคมชาวนาและเกษตรกรไทย ว่า ได้แจ้งให้ชาวนาทราบว่า กระทรวงพาณิชย์ได้เตรียมมาตรการบริหารจัดการข้าวเปลือกนาปี 2566/67 ที่กำลังจะออกสู่ตลาดช่วงเดือนพฤศจิกายน 2566 ไว้พร้อมแล้ว โดยจะใช้งบประมาณจำนวน 69,043 ล้านบาท ในการดูแลเสถียรภาพ ราคาข้าว เปลือกผ่าน 4 มาตรการหลัก ประกอบด้วย ...