• ธนาคารกลางในเอเชียควรแคร์เงินเฟ้อในบ้าน อย่ายึดติดดอกเบี้ยสหรัฐเกินไป | คุยกับบัญชา l 19 เม.ย. 67
    19
    Apr

    ธนาคารกลางในเอเชียควรแคร์เงินเฟ้อในบ้าน อย่ายึดติดดอกเบี้ยสหรัฐเกินไป | คุยกับบัญชา l 19 เม.ย. 67

    “คุยกับบัญชา” ต้องให้สอน! ไอเอ็มเอฟเตือนแบงก์ชาติในเอเชียให้มองเงินเฟ้อ-เศรษฐกิจในบ้านเป็นสำคัญ อย่ามัวแต่ห่วงดอกเบี้ยสหรัฐเลย
  • ไอเอ็มเอฟ สอนมวยแบงก์ชาติในเอเชีย อย่ามัวแต่ห่วง ดอกเบี้ย สหรัฐ บริหารดอกเบี้ยให้เน้นดูแลเงินเฟ้อ
    19
    Apr

    ไอเอ็มเอฟสอนมวยแบงก์ชาติในเอเชีย อย่ามัวแต่ห่วงดอกเบี้ยสหรัฐ บริหารดอกเบี้ยให้เน้นดูแลเงินเฟ้อ

    ผู้อำนวยการ ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ นายกฤษณา ศรีนิวาสัน กล่าวว่า อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นของธนาคารกลางสหรัฐมีอิทธิพลและผลกระทบทันทีทันใดกับข้อจำกัดการเงินในเอเชีย และตลาดอัตราแลกเปลี่ยนในเอเชีย การคาดการณ์เกี่ยวกับเฟดจะปรับลดดอกเบี้ยระยะสั้น ได้ส่งผลให้เกิดความผันผวนต่อเนื่องในช่วงหลายเดือนผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุมาจากปัจจัยที่ไม่เกี่ยวข้องกับความจำเป็นในการดูแลเงินเฟ้อให้มีเสถียรภาพในเอเชีย ไอเอ็มเอฟจึงแนะนำว่า บรรดาธนาคารกลางในประเทศที่อยู่ในเอเชียให้ความสำคัญ หรือเน้นหนักไปที่ภาวะเงินเฟ้อภายในประเทศตนเอง และหลีกเลี่ยงที่จะมีมติบริหารดอกเบี้ยนโยบาย หรือดอกเบี้ยธนาคารกลางด้วยการให้น้ำหนักการคาดการณ์อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นของเฟดมากเกินไป ถ้าธนาคารกลาง หรือแบงก์ชาติในประเทศแถบเอเชีย ตามติดการจัดการดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาใกล้จนเกินไป ...
  • ชัวร์แต่ช้า! เศรษฐกิจโลก ฟื้นชัวร์แต่ช้า ครั้งแรกที่ขยายตัว 3.2% เท่ากันทั้งปีก่อนปีนี้และปีหน้า
    16
    Apr

    ชัวร์แต่ช้า! เศรษฐกิจโลกฟื้นชัวร์แต่ช้า ครั้งแรกที่ขยายตัว 3.2% เท่ากันทั้งปีก่อนปีนี้และปีหน้า

    กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ เปิดเผยรายงานมุมมองเศรษฐกิจโลกประจำเดือนเมษายน 2024 พบว่า การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกเป็นไปอย่างมั่นคงแต่เชื่องช้า และมีความยืดหยุ่นท่ามกลางความแตกต่างของการฟื้นตัวในแต่ละภูมิภาคของโลก ไอเอ็มเอฟคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในปี 2024 นี้จะมีอัตราเท่ากันกับในปี 2025 ที่ 3.2% ส่งผลให้เป็นครั้งแรกที่อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกระหว่างปี 2023 ถึง 2025 คาดว่าจะมีอัตราเท่ากันปีละ 3.2% นั่นหมายถึงเศรษฐกิจโลกจะ ...
  • ไอเอ็มเอฟ ชี้ เศรษฐกิจจีน ชะลอตัว 5 ปีติดจากนี้ไป จีดีพีเริ่มปีมังกรเหลือ 4.6% ถึงปี 2028 ทรุดเหลือ 3.4%
    3
    Feb

    ไอเอ็มเอฟชี้เศรษฐกิจจีนชะลอตัว 5 ปีติดจากนี้ไป จีดีพีเริ่มปีมังกรเหลือ 4.6% ถึงปี 2028 ทรุดเหลือ 3.4%

    กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ เปิดเผยรายงานภาวะเศรษฐกิจจีนด้วยการทบทวนแนวโน้มเศรษฐกิจจีนในปี 2024 นี้ พบว่า อัตราการขยายตัวเศรษฐกิจจีนจะชะลอตัวจากปี 2023 ที่ระดับ 5.4% มาอยู่ที่ระดับ 4.6% ลดลง -0.8% สาเหตุจากวิกฤตอสังหาริมทรัพย์ที่เรื้อรังต่อเนื่อง และไม่มีสัญญาณการฟื้ตัวอย่างชัดเจนทั้งในระยะสั้นถึงระยะยาว ประกอบกับความต้องการจากภายนอกประเทศจะอ่อนแอลง ในช่วงระยะกลางถึงระยะยาวจากนี้ไป อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจจีนจะชะลอตัวลงต่อเนื่องส่งผลให้ในปี 2028 ...
  • ไอเอ็มเอฟ กระตุกตัวเลข เศรษฐกิจโลก ปีนี้ขึ้นเหนือ 3% เล็กน้อย ผลพวงสหรัฐชะลอตัวนิ่มนวล
    31
    Jan

    ไอเอ็มเอฟกระตุกตัวเลขเศรษฐกิจโลปีนี้ขึ้นเหนือ 3% เล็กน้อย ผลพวงสหรัฐชะลอตัวนิ่มนวล

    กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ เปิดเผยมุมมองเศรษฐกิจโลกปี 2024 พบว่า ได้ปรับเพิ่มอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก หรือจีดีพีจากเดิมที่คาดการณ์เมื่อเดือนตุลาคมปี 2024 ที่ระดับ 2.9% ขึ้นอีกเล็กน้อย +0.2% มาเป็นระดับ 3.1% และเศรษฐกิจโลกในปี 2025 คาดการณ์ขยายตัวที่ 3.2% สาเหตุจากภาวะเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาที่มีความยืดหยุ่นสูงทำให้สามารถชะลอตัวลงอย่างนิ่มนวล ด้านเศรษฐกิจจีนที่มีขนาดใหญ่อันดับ ...
  • ปัญญาประดิษฐ์ จ่อสร้าง ความเหลื่อมล้ำ เลวร้ายมากขึ้น ชิ่งกระทบ 40% การงานทั่วโลก
    15
    Jan

    ปัญญาประดิษฐ์จ่อสร้างความเหลื่อมล้ำเลวร้ายมากขึ้น ชิ่งกระทบ 40% การงานทั่วโลก

    กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ เปิดเผยว่า ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือเอไอ สร้างผลกระทบเกือบ 40% กับงานทั่วโลก ซึ่งประเทศที่พัฒนาแล้ว จะได้รับผลกระทบมากถึง 60% ของงานในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ที่สำคัญ คือ เอไอกลายเป็นสาเหตุที่ทำให้ความไม่เท่าเทียมกัน หรือความเหลื่อมล้ำระหว่างมนุษย์ตกอยู่ในสถานะที่เลวร้ายมากขึ้นทั่วโลก ซึ่งทำให้กลายเป็นแนวโน้มที่ยากลำบาก ที่บรรดาผู้กำกับนโยบายหรือรัฐบาลจะต้องป้องกันเทคโนโลยีไม่ให้เป็นต้นเหตุสร้างความตึงเครียดหรือความขัดแย้งในสังคม ...
  • เตือนแล้วนะ! ไอเอ็มเอฟ เตือนสงครามเย็นครั้งที่ 2 ส่อฉุด เศรษฐกิจโลก เสียหายสูงถึง 7%
    13
    Dec

    เตือนแล้วนะ! ไอเอ็มเอฟเตือนสงครามเย็นครั้งที่ 2 ส่อฉุดเศรษฐกิจโลกเสียหายสูงถึง 7%

    นางสาวกีต้า โกปินาธ รองกรรมการผู้จัดการคนที่ 1 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ กล่าวว่า เศรษฐกิจโลกที่แบ่งแยกออกเป็นฝักเป็นฝ่าย และเกิดการเปลี่ยนแปลงออกจากความสำคัญการค้าในรูปแบบทวิภาคี จะนำไปสู่ภาวะสงครามเย็นครั้งที่ 2 โดยเฉพาะสถานการณ์ความขัดแย้งรุนแรงในระดับภูมิภาคของโลกที่เกิดขึ้นมาต่อเนื่อง ได้แก่ สงครามยูเครนกับรัสเซีย และความตึงเครียดระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีนแผ่นดินใหญ่ หากเศรษฐกิจโลกต้องถูกแบ่งแยกออกเป็น 2 ขั้วใหญ่อย่างชัดเจนในอนาคต จะทำให้ผลผลิตมวลรวมของเศรษฐกิจโลกหดหายตั้งแต่ระหว่าง 2.5% ...
  • ภาวะศก.โลก 2024 อืดจัด IMF ลดเป้าโตต่ำ 3% ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยใน 20 ปีผ่านมา | คุยกับบัญชา l 11 ต.ค. 66
    20
    Oct

    ภาวะศก.โลก 2024 อืดจัด IMF ลดเป้าโตต่ำ 3% ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยใน 20 ปีผ่านมา | คุยกับบัญชา l 11 ต.ค. 66

    “คุยกับบัญชา” ไอเอ็มเอฟลดเป้าเศรษฐกิจโลกปี 2024 โตเหลือ 2.9% ทรุดต่ำกว่าในช่วง 20 ปีที่เศรษฐกิจโลกโตติดต่อกัน
  • ภาวะศก.โลก 2024 อืดจัด IMF ลดเป้าโตต่ำ 3% ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยใน 20 ปีผ่านมา | คุยกับบัญชา EP.1371 l 11 ต.ค. 66
    20
    Oct

    ภาวะศก.โลก 2024 อืดจัด IMF ลดเป้าโตต่ำ 3% ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยใน 20 ปีผ่านมา | คุยกับบัญชา EP.1371 l 11 ต.ค. ...

    “คุยกับบัญชา” ไอเอ็มเอฟลดเป้าเศรษฐกิจโลกปี 2024 โตเหลือ 2.9% ทรุดต่ำกว่าในช่วง 20 ปีที่เศรษฐกิจโลกโตติดต่อกัน
  • ไอเอ็มเอฟ เตือน วิกฤตอสังหา ฯ จีน ส่อฉุดดึง เศรษฐกิจ เอเชีย-แปซิฟิก สัญญาณฟื้นตัวหลายชาติ
    13
    Oct

    ไอเอ็มเอฟเตือนวิกฤตอสังหาฯ จีนส่อฉุดดึงเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก สัญญาณฟื้นตัวหลายชาติ

    นายยาน แคริเอ สวอลโลว และนายกฤษณา ศรีนิวาสัน ซึ่งเป็น 2 นักเศรษฐศาสตร์ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ เปิดเผยว่า วิกฤตอสังหาริมทรัพย์ในประเทศจีนแผ่นดินใหญ่จะสร้างผลกระทบต่อแนวโน้มการฟื้นตัวและขยายตัวของเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก ซึ่งในขณะนี้มีสัญญาณที่ชัดเจนว่า ผลกระทบของเศรษฐกิจจีนแผ่นดินใหญ่ไปชะลอการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของหลายประเทศแล้ว ในช่วงระยะเวลาอันใกล้นี้ ภาวะหนี้เสียจำนวนมากในอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ และภาวะกิจกรรมเกี่ยวกับเศรษฐกิจจำนวนมากที่ชะลอตัวลงในจีนแผ่นดินใหญ่จะทำให้เกิดผลกระทบข้างเคียงไปยังประเทศที่พึ่งพาจีนแผ่นดินใหญ่ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการส่งออกและนำเข้าสินค้าโภคภัณฑ์ที่มีการซื้อขายโดยตรงระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ...