• ช็อกก่อน! ดีอีเอส เจอ 4,801 หน่วยงาน ข้อมูลประชาชนรั่ว อปท. มากสุด 2,600 แห่ง
    28
    Dec

    ช็อกก่อน! ดีอีเอส เจอ 4,801 หน่วยงาน ข้อมูลประชาชนรั่ว อปท. มากสุด 2,600 แห่ง

    นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (รมว.ดีอีเอส) กล่าวว่า สำหรับมาตรการระยะเร่งด่วน ที่ได้สั่งการให้สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (สคส.) จัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล (PDPC Eagle Eye) เร่งตรวจสอบข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะ พร้อมทั้งค้นหา เฝ้าระวัง การรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคล และสำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) ตรวจสอบช่องโหว่ ระบบระบบการรักษาความมั่นคงปลอดภัยข้อมูล ...
  • 8
    Nov

    ลงดาบคนโกง! คปภ. สั่งเพิกถอนใบอนุญาตตัวแทนประกันชีวิต ลักลอบนำข้อมูลลูกค้าไปขาย

    จากกรณี เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2566 เจ้าหน้าที่ตำรวจกองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (บช.สอท.) ได้แถลงผลการจับกุม นายพศิน (ขอสงวนนามสกุล) อายุ 41 ปี มีอาชีพเป็นนายหน้าประกันภัยโดยมีพฤติกรรมลักลอบนำข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าไปขายให้กับกลุ่ม มิจฉาชีพ ส่งผลทำให้ลูกค้าอาจได้รับความเสียหายจากการกระทำดังกล่าวนั้น ล่าสุด สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (สำนักงาน คปภ.) สั่งการให้สายตรวจสอบคนกลางประกันภัยร่วมกับ สายกฎหมายและคดี ...
  • 30
    May

    เช็คด่วน! เริ่ม 1 มิถุนายน กิจการธุรกิจอะไรได้ยกเว้นกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

    ศูนย์วิจัยกสิกรไทย เปิดเผยเว่า นับถอยหลังก่อนถึงวันบังคับใช้ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) 1 มิถุนายน 2565 หน่วยงานและองค์กรขนาดใหญ่ต่างให้ความสำคัญในการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย ซึ่งนอกจากจะลดคดีความข้อพิพาทต่างๆ แล้ว ยังมีส่วนช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ลูกค้าผู้ใช้บริการ อย่างไรก็ดี แนวปฏิบัติที่กำหนดในกฎหมายอาจเกินความจำเป็นในการบังคับใช้กับกิจการขนาดเล็กและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร กฎหมายจึงเปิดช่องให้มีข้อยกเว้นไม่ต้องจัดทำบันทึกรายการข้อมูลส่วนบุคคล แต่ยังคงความรับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลไม่ให้รั่วไหลและเกิดการละเมิดสิทธิ ทุกกิจการที่ได้รับข้อมูลส่วนบุคคลจากลูกค้าหรือผู้ใช้บริการ ถือว่าอยู่ภายใต้ พ.ร.บ. ...
  • 17
    Feb

    นักกฎหมายเตือนกลุ่มใช้ Clubhouse ระวังข้อมูลส่วนตัว

    นายไพบูลย์ อมรภิญโญเกียรติ นักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญกฎหมายดิจิทัล ให้ความเห็นถึงแอปพลิเคชัน Clubhouse ว่า ส่วนตัวเห็นว่าเป็นแอปพลิเคชันที่ดีที่เปิดโอกาสให้คนสื่อสารกันด้วยเสียงระหว่างกลุ่มคน แต่มีประเด็นที่ต้องระวัง คือ ความเป็นส่วนตัว กับการดูแลข้อมูลส่วนบุคคล สิ่งที่น่ากังวลคือ Clubhouse ต้องมีการยืนยันตัวตนในการใช้บริการ ผู้ให้บริการต้องการเก็บข้อมูลของผู้ใช้ โดยเฉพาะบุคคลที่มีชื่อเสียง การใส่ชื่อนามสกุลจริงจึงเป็นจุดขายของ Club House ดังนั้นสิ่งที่ ...