• 5
    Apr

    ‘หมอธีระวัฒน์’ ชี้โควิดปรับตัวเรื่อยๆ ไม่สามารเกิดภูมิคุ้มกันหมู่ เหมือนโรคอื่นได้

    ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า คิดว่าจบ แต่ก็ไม่จบ คนไทยต้องตาสว่าง ดูรอบด้าน 1.ตอนแรกเราก็คิดว่าโอไมครอนมาแล้วจบ แต่กลายเป็นว่า BA.1 พอจบ ต่อด้วย BA.2 ยังไม่ทันจบ มีตัวแทรก คิอ X ...
  • 21
    Feb

    ‘หมอธีระวัฒน์’ ชี้โอไมครอนพันธุ์ BA.2 แพร่เร็วกว่า-ติดซ้ำซ้อน ฉีดวัคซีนกี่เข็มก็ติด

    นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า…จุดสูงสุดของโอมิครอนต้องประกอบไปด้วย จุดยอดของการติดเชื้อและจุดสูงสุดของคนที่ต้องมีอาการที่ต้องเข้าโรงพยาบาล จากนั้นจึงจะค่อยๆลดลง สิ่งที่ต้องทราบก่อนคือ ข้อมูลการติดเชื้อตัวเลขจริง ซึ่งในปัจจุบันไม่มีข้อมูลชัดเจน ทั้งนี้ในประเทศต่างๆ จำนวนผู้ติดเชื้อจะเพิ่มเป็นสองเท่าทุกๆสองวันไม่เกินสามวัน แต่ในประเทศไทยตัวเลขสูงขึ้นจริง แต่ไม่เป็นไปตามที่ควรจะเป็น ตามประเทศต่างๆรายงาน ซึ่งแสดงถึงความจำกัดในการตรวจไม่ว่าจะเป็นพีซีอาร์หรือเอทีเคก็ตาม ซึ่งก็ไม่ผิด เพราะคิดว่าอาการน้อยแล้ว และประกาศของทางการก็ไม่สนับสนุนในการตรวจตามสถานพยาบาลน้อยใหญ่ ...
  • โควิด
    15
    Feb

    หมอธีระวัฒน์ ค้าน! ถอดโควิดออกจากโรคฉุกเฉิน ชี้ยังไม่ถึงเวลาเป็นโรคประจำถิ่น

    นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า… โควิดเป็นโรคประจำถิ่นถอดออกจากการแพทย์ฉุกเฉิน รักษาตนเอง ตรวจเอง และต่อไปประกาศตัวเลขสัปดาห์ละครั้ง ข้อสังเกตวัคซีนโควิดที่ออกมาเป็นการใช้ในสภาวะฉุกเฉินโดยมีการพัฒนารวดเร็วมาก เทียบกับวัคซีนต่างๆที่ผ่านมา ถึงแม้จะป้องกันได้ระดับหนึ่งแต่ก็มีผลแทรกซ้อน ดังที่ได้ พยายามให้มีการฉีดเข้าชั้นผิวหนังซึ่งมีความปลอดภัยกว่ามาก ในเมื่อเป็นการฉีดป้องกันโรคประจำถิ่น เมื่อเกิดผลข้างเคียงถึงชีวิตหรือเจ็บป่วยใดๆ จะสามารถเรียกค่าชดเชยจาก สปสช.ได้หรือไม่ ดังที่มีมาก่อนและผ่านมามากกว่า ...
  • โควิด
    1
    Feb

    ‘หมอธีระวัฒน์’ เผยเด็กที่ติดเชื้อโควิดแต่ไม่มีอาการ ผลตรวจ ATK จะแม่นยำแค่ 50%

    นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า… ความไวและแม่นยำของเอทีเคในเด็กมีเพียง 50% นิดๆ ATK ที่ผ่านการรับรองของทางการในแต่ละประเทศ และดูตามข้างกล่องมีความไวสูงถึง 95 ถึง 97% ด้วยซ้ำ รายงานจากประเทศอังกฤษ จากการรวบรวมและวิเคราะห์อภิมานสรุปว่า การตรวจในเด็กที่ไม่มีอาการ พบว่ามีความไวเพียง ...
  • สาธารณสุข
    26
    Jan

    ‘หมอธีระวัฒน์’ ชี้ 8 ข้อ วิกฤติปัญหาสาธารณสุขไทย ทุกฝ่ายในประเทศต้องร่วมมือกัน

    นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า…ปัญหาร้ายแรงขณะนี้อยู่ที่การต้องจับมือร่วมกันทุกฝ่ายของผู้ให้บริการ และประชาชน รวมทั้งโรงเรียนแพทย์ โดยต้องเข้าใจตรงกันว่า 1. ป้องกันต้องมาเป็นอันดับแรกมิฉะนั้นต่อให้ประเทศรวยแค่ไหนก็ต้องล่มจม และคุณภาพคนในประเทศ จะแย่หมดเพราะสุขภาพบกพร่องทำงานไม่เต็มที่ แล้วจะเหลือใครมาชูชาติไทย 2. เงินก้อนเดียวต้องช่วยทั้งประเทศดังนั้น 2.1 ยาต้องพิจารณาที่ผลิตในประเทศที่ตรวจสอบคุณภาพแล้ว ไม่มีการอ้างยานอกดีกว่า เช่นยาไขมัน ...
  • โควิด
    10
    Jan

    ‘หมอธีระวัฒน์’ เตือนอย่าประมาทพันธุ์โอไมครอน แนะจับตาดูการระบาดถึงกลางเดือน ก.พ.

    เมื่อวันที่ 9 ม.ค. ที่ผ่านมา ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า…ตัวแปรในระลอกโอไมครอน จับตาถึง กลาง กุมภาพันธ์ ความรุนแรง คนในพื้นที่นั้นมีโรคประจำตัว ที่ยังคุมไม่ได้ หรือสูงวัย มากขนาดไหน ที่ว่า เบา ในประเทศต่างๆ ...
  • โควิด
    5
    Jan

    “หมอธีระวัฒน์” ชี้จับตาหาก 3 เดือน ยอดโอไมครอนไม่พุ่ง-ไม่มีตัวใหม่ ประกาศอิสรภาพได้

    ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ประเด็น โอไมครอน ถึงไม่อยากติด..ก็ยังติดได้ โดยระบุว่า โอไมครอนพิสูจน์แล้วว่าวัคซีนมาตรฐาน 3 เข็ม กันติดได้ 60-70% ระยะแรก ...
  • โควิด
    29
    Dec

    หมอธีระวัฒน์เผยควรฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนัง พบฉีดเข้ากล้ามเนื้อตายทะลุ 2,000 ราย

    นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟสบุ๊กเกี่ยวกับผลกระทบจากการฉีดวัคซีนป้องกันโรคระบาดโควิด-19 เข้าชั้นผิวหนัง และใต้กล้ามเนื้อ มีดังนี้ สถานการณ์โอไมครอน ที่ดูอาการไม่หนัก ดังนั้นต้องระวังผลข้างเคียงจากวัคซีน โอไมครอนน่าจะดูดี เพราะที่อยู่โรงพยาบาลจำนวนไม่มากจากข้อมูลประเทศอังกฤษ และอาการไม่หนักมาก เสียชีวิต 39 ราย และหลังติดเชื่ออาการเกิดขึ้นเร็วภายในสองวัน และจบภายในแปดถึงเก้าวัน ...
  • หมอธีระวัฒน์
    28
    Dec

    “หมอธีระวัฒน์” ชี้ไม่ช้าก็เร็วคนไทยเกือบทุกคน จะติดโควิดสายพันธุ์โอไมครอน

    ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ โพสต์ผ่านเฟซบุ๊ก ระบุว่า… ชะตาโอไมครอน 27-28/12/64 คนไทยอย่างไรก็ติดโอไมครอน ไม่ช้าก็เร็ว ทั่วหรือเกือบทุกคน ขึ้นกับ 1- ระยะเวลาหลังได้วัคซีน แม้เป็นวัคซีนที่คิดว่าดีที่สุดเช่น ไฟเซอร์หรือโมเดอร์นา 3 เข็ม ...
  • โควิด
    21
    Dec

    หมอธีระวัฒน์ แนะ 4 ตัวแปร ทำโควิดสายพันธุ์โอไมครอนยอดพุ่ง

    นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทย์ศาสตร์ รพ.จุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊กระบุเกี่ยวกับการประเมินความเสี่ยงและความรุนแรงของโอไมครอนว่า ตัวแปรมีความหลากหลาย ได้แก่ 1. อาจจะขึ้นอยู่กับลักษณะของภูมิที่เกิดขึ้นจากการติดเชื้อธรรมชาติหรือจากวัคซีน (ซึ่งทั้งหมดป้องกันการติดโอไมครอนได้ไม่ดี แต่ช่วยลดอาการ) ในแอฟริกาใต้เป็น 4 ระลอก และภูมิส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ โดยลักษณะของไวรัสน่าจะไม่เหมือนกับในอังกฤษ โดยที่ อังกฤษยังมีเดลตาและโอมิครอน ในขณะที่แอฟริกาใต้เป็นโอมิครอน ...