• 13
    Aug

    ยังไม่สุด! องค์การอนามัยโลกเผยยอดติดโควิด-19 แตะ 300 ล้านคนต้นปี 65 ขึ้นกับหลายปัจจัย

    นายแพทย์ ทีโดรส อัดฮานอม กีบรีเยซุส ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก หรือ WHO เปิดเผยในการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนที่สวิสเซอร์แลนด์เมื่อสักครู่ที่ผ่านมาว่า จากการประเมินสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ทั่วโลก พบว่าในช่วงต้นปี 2565 จำนวนผู้ติดโรคระบาดโควิด-19 อาจจะมีมากถึง 300 ล้านราย แต่ทั่วโลกอาจจะสามารถช่วยเหลือกันเพื่อไม่ให้จำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปถึงจุดนั้นได้ ทั้งหมดขึ้นอยู่กับตัวเราทุกคนที่จะช่วยเหลือกัน ...
  • 13
    Jul

    หมออนันต์เผย WHO ไม่ค้านฉีดวัคซีนไขว้ เหน็บต้องใช้ความเห็นนักวิชาการ ถ้าผ่านสื่อ ความหมายเพี้ยน

    ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา นักวิจัยด้านไวรัสวิทยา ไบโอเทค โพสต์เฟซบุ๊กเกี่ยวกับการแถลงของหัวหน้านักวิทยาศาสตร์ องค์การอนามัยโลก เตือนการฉีดวัคซีนต่างยี่ห้อกัน มีดังนี้ “ส่วนตัวไม่คิดว่า ดร.โสมยา จากองค์การอนามัยโลก ค้านการใช้วัคซีนแบบสลับเข็ม แต่สิ่งที่ค้านคือคนไปขอฉีดแบบนั้นกันเอง คำว่า Public Health agencies (ซึ่งก็คือคณะกรรมการสาธารณสุข + ผู้เชี่ยวชาญ) ...
  • คุยกับบัญชา EP.432: WHO ชี้โควิด-19 สายพันธุ์เดลตา เตรียมระบาดยึดยุโรป
    11
    Jul

    คุยกับบัญชา EP.432: WHO ชี้โควิด-19 สายพันธุ์เดลตา เตรียมระบาดยึดยุโรป

     “คุยกับบัญชา” ยุโรปอันตราย! องค์การอนามัยโลกกังวลว่ายุโรปอาจถูกโควิด-19 สายพันธุ์เดลตาระบาดยึดครองทวีป
  • คุยกับบัญชา Live: WHO ชี้โควิด-19 สายพันธุ์เดลตา เตรียมระบาดยึดยุโรป
    11
    Jul

    คุยกับบัญชา Live: WHO ชี้โควิด-19 สายพันธุ์เดลตา เตรียมระบาดยึดยุโรป

    คุยกับบัญชา Live: WHO ชี้โควิด-19 สายพันธุ์เดลตา เตรียมระบาดยึดยุโรป
  • 22
    Jun

    ฤทธิ์แรงสุด! องค์การอนามัยโลกเตือนสายพันธุ์อินเดีย เร็วกว่า-แข็งแรงกว่า-ถึงตาย ระบาด 92 ประเทศรวมไทย

    ดร.ไมค์ ไรอัน กรรมการอำนวยการ องค์การอนามัยโลก หรือ WHO เปิดเผยว่า เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สายพันธุ์เดลต้า หรืออินเดีย กลายเป็นเชื้อไวรัสที่ระบาดเร็วที่สุด มีความแข็งแรงมากที่สุด และมีความอันตรายถึงชีวิต นอกจากนี้ ไวรัสสายพันธุ์เดลต้าจะแพร่กระจายในในบุคคลที่มีสุขภาพเปราะบางโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานที่ หรือพื้นที่ที่มีอัตราการฉีดวัคซีนป้องกันโรคระบาดโควิด-19 ต่ำ กรรมการอำนวยการ องค์การอนามัยโลก ...
  • 1
    Jun

    เปลี่ยนชื่อกัน! องค์การอนามัยโลกสั่งเปลี่ยนเรียกชื่อโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่

    องค์การอนามัยโลก หรือ WHO เปิดเผยว่า จะนำตัวอักษรภาษากรีกในยุคโบราณมาใช้เป็นชื่อเรียกไวรัสโคโรนา 2019 สายพันธุ์ใหม่ หรือกลายพันธุ์ที่พบในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อทดแทนการใช้และเรียกชื่อประเทศที่พบการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อวัตถุประสงค์ในการหลีกเลี่ยงการใช้ชื่อประเทศที่เป็นแหล่งพบสายพันธุ์ใหม่ที่นำไปสู่ตราบาปของประเทศ หรือทำให้เกิดการกีดกัน และการจงเกลียดจงชังประชาชนในประเทศนั้นๆ องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดการเรียกชื่อสายพันธุ์ใหม่กับสายพันธุ์ประเภทน่ากังวล และสายพันธุ์ประเภทน่าสนใจระดับที่สอง การเปลี่ยนมาใช้ชื่อตามการออกเสียงภาษากรีกในครั้งนี้ จะไม่นำมาเปลี่ยนชื่อทางวิทยาศาสตร์แต่อย่างใด สำหรับชื่อใหม่ของโรคระบาดโควิด-19 กลายพันธุ์ ...
  • 27
    May

    WHO เลื่อนรับรองวัคซีนซิโนแวค หลังขอข้อมูลเพิ่มเติม คาดรู้ผลช่วงเดือน มิ.ย. นี้

    เดอะ วอลล์ สตรีท เจอร์นัล รายงานว่า องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ขอข้อมูลเพิ่มเติมของวัคซีนซิโนแวค ไบโอเทค เพื่อนำไปประกอบการตัดสินใจว่าจะอนุญาตรับรองให้ฉีดวัคซีนโควิดชนิดนี้ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของ WHO ซึ่งเจ้าหน้าที่อาวุโสของ WHO คาดการณ์การว่าการพิจารณาดังกล่าว จะเลื่อนออกไปถึงเดือนมิถุนายน . โดยจากรายงานว่า วัคซีนซิโนแวค ยังไม่สามารถชี้แจงได้ว่าจะผลิตวัคซีนให้กับโครงการโคแวกซ์ของ ...
  • 24
    May

    WHO เปิดผลการศึกษาคุณภาพวัคซีนซิโนแวคของจีน เตรียมพิจารณาไฟเขียวในสัปดาห์หน้า

    องค์การอนามัยโลก หรือ WHO เปิดเผยผลการศึกษาประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรคระบาดโควิด-19 ชิโนแวค (Sinovac) จากจีนแผ่นดินใหญ่ จากผลการศึกษา พบว่า วัคซีนชิโนแวคสามารถฉีดได้ตั้งแต่อายุ 18 ขึ้นไป บุคคลที่มีอายุมากกว่า 60 ปี และบุคคลที่มีโรคประจำตัว ในการพิจารณาของคณะกรรมการชุดที่มีชื่อว่า SAGE ซึ่งอยู่ในองค์การอนามัยโลก สรุปเกี่ยวกับประสิทธิภาพของวัคซีนชิโนแวค ...
  • 11
    May

    WHO ประกาศให้โควิดสายพันธุ์อินเดียเป็น “ตัวกลายพันธุ์ที่น่ากังวลระดับโลก”

    มาเรีย ฟาน เคิร์กโฮฟ นักระบาดวิทยาด้านโรคติดต่อ และผู้นำฝ่ายเทคนิคของโครงการฉุกเฉินด้านสาธารณสุขขององค์การอนามัยโลก ได้แถลงว่า เชื้อไวรัสโควิดกลายพันธุ์ B.1.617 ที่พบครั้งแรกในอินเดียเมื่อเดือนตุลาคมปีก่อน ได้ดูเหมือนว่าจะแพร่กระจายเชื้อได้ง่ายกว่าตัวเชื้อไวรัสดั้งเดิม ซึ่งข้อมูลที่มีมาบางส่วนบ่งชี้ว่ามีการแพร่เชื้อเพิ่มขึ้นของ B.1.617 จึงได้จัดให้มันอยู่ในฐานะ “เชื้อไวรัสโควิดตัวกลายพันธุ์ที่น่ากังวลของโลก” เนื่องจากได้พบข้อบ่งชี้ว่าเชื้อไวรัสไปทำการลดแอนติบอดีชนิดลบล้างฤทธิ์บางส่วน ทำให้แอนติบอดีจะส่งผลน้อยลงกับตัวกลายพันธุ์ . โดยองค์การอนามัยโลก ยืนยันว่ายังเร็วเกินไปที่จะตีความผลการศึกษาดังกล่าวว่า เชื้อไวรัสสายพันธุ์อินเดียอาจต้านทานการป้องกันจากวัคซีนได้มากกว่าเชื้อตัวอื่น ...
  • 10
    May

    หมอธีระเตือนระบาดรอบ 3 ในไทยยืดเยื้อ เตือนระบบสุขภาพกทม.พ่วงปริมณฑลจะรับมือไม่ไหว

    รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความในเฟสบุ๊กเกี่ยวกับสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 มีดังนี้ สถานการณ์ของไทยในปัจจุบัน ทั้งการระบาดภายในประเทศที่รุนแรง กระจายทั่วไป และยังไม่สามารถควบคุมได้ ผนวกกับการระบาดในประเทศเพื่อนบ้านโดยรอบ ทั้งกัมพูชา เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และมาเลเซีย คงสามารถพิจารณาได้ว่าวิกฤติ และยากต่อการจัดการ จะจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ…หากมีการเตรียมระบบการตรวจคัดกรองโรคที่มีศักยภาพ ทำได้มาก ...