• 2
    Aug

    เจอในไทย! กรมการแพทย์พบหายป่วยโควิด-19 กลับติดซ้ำในช่วงเวลาสั้นๆ

    นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวถึงกระแสการซื้อยาโมลนูพิราเวียร์จากประเทศเพื่อนบ้านว่า ทางกรมการแพทย์ยังคงยืนยันการใช้ยาตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ และต้องอยู่ในการดูแลของแพทย์ โดยการจ่ายยาต้ายไวรัส ทั้งโมลนูพิราเวียร์ และแพ็กซ์โลวิด ต้องอยู่ในดุลยพินิจของแพทย์ ไม่ใช่ไปซื้อหายามารับประทานเอง เนื่องยาทั้ง 2 ชนิดนี้ เป็นยาควบคุมและใช้ในภาวะฉุกเฉิน ซึ่งมีการใช้มาเพียงแค่ 1 ปี ยังไม่รู้ถึงผลข้างเคียงจากยา อีกทั้งจะมั่นใจได้อย่างไรว่ายาที่ได้มานั้นเป็นยาจริง ...
  • โควิด
    27
    Dec

    กรมการแพทย์ห่วงเด็กอาจติดพันธ์ุโอไมครอนเยอะ สั่งสำรองเตียงเด็ก-ยาน้ำต้านโควิด

    นพ. สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า สถานการณ์การครองเตียงในปัจจุบันของประเทศไทย มีเตียงทั้งหมด 178,139 เตียง ขณะนี้ใช้ไป 13 % แบ่งเป็น – เตียงสำหรับรองรับผู้ป่วยสีแดงปัจจุบันมีเตียงอยู่ 4,955 เตียง มีอัตราการครองเตียง 31.6 % ...
  • โควิด
    14
    Dec

    กรมการแพทย์คาดหลังปีใหม่ไทยจะเผชิญโอไมครอนมาขึ้น สั่งเตรียมพร้อมดูแลผู้ป่วย

    นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า หลังจากพบการระบาดของโอไมครอนในอังกฤษพบเสียชีวิต 1 คน แต่ยังมีมาตรการต่างๆ ในการรักษายังคงเดิม ขณะนี้ได้หารือกับภาคีเครือข่ายให้เตรียมพร้อมในการดูแลผู้ป่วย หากไทยต้องเผชิญกับโอไมครอนคาดว่าไทยน่าจะเริ่มพบผู้ป่วยโอไมครอนมากขึ้น ช่วงหลังปีใหม่ หรือในกลางเดือนมกราคม หากพบมากขึ้น ป่วยน้อยก็ยังใช้การรักษาแบบ HI . ทั้งนี้ต้องยอมรับว่า โอไมครอนติดง่ายแพร่เร็วกว่าเดลตา และอาจหลบภูมิคุ้มกันวัคซีน ...
  • กรมการแพทย์เร่งหารือ ไฟเซอร์ เตรียมนำเข้า ยาแพกซ์โลวิด เพื่อรักษาผู้ป่วยโควิด-19
    9
    Nov

    กรมการแพทย์เร่งหารือไฟเซอร์ เตรียมนำเข้ายาแพกซ์โลวิด เพื่อรักษาผู้ป่วยโควิด-19

    นายแพทย์อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ ที่ปรึกษากรมการแพทย์ ระบุว่า ความคืบหน้ายาโมนูลพิราเวียร์ และยาแพกซ์โลวิด ว่ายาทั้งสองตัวนี้เป็นยาช่วยต้านไวรัสโควิดไม่ให้ไวรัสเพิ่มในร่างกาย แต่มีการออกฤทธิ์ต่างกันคนละที่ ซึ่งยาโมนูลพิราเวียร์จากงานวิจัยพบว่าลดความเสี่ยงการในการเข้านอนโรงพยาบาลและเสียชีวิตร้อยละ 50 โดยพบว่า ไม่มีผู้เสียชีวิตในกลุ่มที่ได้ยาโมนูลพิราเวียร์ ส่วนคนที่ได้ยาหลอกเสียชีวิต 8 คน ขณะที่ ยาแพกซ์โลวิด ต้องใช้ควบคู่กับ ยาริโทนาเวียร์ จากข้อมูลศึกษาวิจัยเบื้องต้น ...
  • 19
    Dec

    Young@Heart Show The Stronger อวัยวะเทียมเสมือนจริง

    อวัยวะเทียมเสมือนจริงที่ทำจากซิลิโคน มีที่มาจากเทคโนโลยีที่จะช่วยผู้พิการ ในการประกอบอาชีพหรือเข้าสู่สังคมได้มากขึ้น สมัย 5 ปีก่อนเริ่มทำอวัยวะเทียมจากพีวีซี เป็นหลัก แต่จะมีข้อเสียคือ เกิดความไม่เสมือนจริง ปัจจุบัน สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ ได้นำเทคโนโลยีของซิลิโคนแลป เข้ามาช่วยพัฒนาการทำอวัยวะเทียมให้เสมือนจริงมากขึ้น ข้อดีของอวัยวะที่ทำจากซิลิโคนคือ สามารถผสมสีให้ได้สีผิวเดียวกันกับผิวหนังใกล้เคียงมากที่สุด สามารถหล่อแบบได้เฉพาะบุคคล การใช้งานยืดหยุ่น อายุการใช้งานนาน ทำความสะอาดได้ง่าย สามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่  สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ